1. เวลา 9.00 น. (ไม่มีเศษนาที)
1) It's nine o'clock.
2) It's nine o'clock sharp.
3) It's cxactly nine.
2. เวลา 9.10 น. (มีเศษนาที)
1) It's nine ten.
2) It's ten minutes after nine.
3) It's ten minutes past nine.
3. เวลา 9.35 น. (มีเศษนาทีเกินครึ่งแล้ว)
1) It's nine thirty five.
2) It's twenty-five minutes to ten.
นอกจากนี้ยังมีคำที่ใช้เรียกช่วง 15 นาทีว่า quarter และช่วง 30 นาทีว่า half
ตัวอย่าง
1. ช่วง 15 นาที เช่น เวลา 9.15 นาฬิกา
1) It's nine fifteen.
2) It's a quarter past nine.
2. ช่วงที่เป็นครึ่ง หรือ 30 นาที เช่น เวลา 7.30 นาฬิกา
1) It's seven thirty.
2) It's half past seven.
3. ถ้าเป็นเวลาที่เลยครึ่งมาแล้วคือเกิน half จะต้องใช้ to (ถึง) เสมอ เช่น เวลา 7.45 นาฬิกา
1) It's a quarter to eight.
2) It's saven forty-five.
3) It's fifteen minutes to eight.
การใช้ A.M. และ P.M.
a.m. หรือ A.M. - ก่อนเที่ยง ย่อมาจากคำว่า " ante meridiem " p.m. หรือ P.M. - หลังเที่ยง ย่อมาจากคำว่า "post meridiem "
เหตุที่ต้องใช้ a.m. และ p.m. ก็เพราะเวลาในภาษาอังกฤษนั้นบางครั้งก็ไม่ทราบว่าเช้าหรือบ่ายไม่เหมือนภาษาไทย ที่เรียกว่า 1 ทุ่ม 2 ทุ่ม หรือบ่าย2 หรือไม่ก็ตี 2 ตี 3 เป็นต้น นอกเสียจากว่าในประโยคนั้น ๆ จะระบุว่า in the morning, in the afternoon, in the evening หรือ at night เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดล้วนบ่งบอกช่วงเวลาของวันอยู่แล้ว
ประโยคสำคัญเกี่ยวกับเวลา
1. เที่ยงตรง It's noon.
2. ใกล้ถึง 10.00 น.แล้ว It's close to ten o'clock.
3. นาฬิกาของเขาช้า He watches is slow.
4. นาฬิกาของเขาเร็ว He watches is fast.
5. นาฬิกาของผมหยุดเสียแล้ว He watches has stopped.
6. คุณจะสละเวลาสัก 3 นาทีได้ไหม Can you spare three minutes?
ตัวอย่างบทสนทนา
A : Excuse me. What time is it now?
B : It's just five o'clock.
A : Isn't your watch a little too fast?
B : I don't think so, because I've just set it this morning.
A : Is that so? Thank you very much.
การเรียนรู้เกี่ยวกับเวลาเป็นสิ่งที่จำเป็น เพราะจะต้องในชีวิตประจำวัน ถ้าหากไม่รู้เวลาอาจจะทำให้เราทำงานผิดพลาด และอาจจะผิดนัดกับบุคคลอื่นได้
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น